วันจันทร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
Should / would have + past participle
Should can be used with a perfect infinitive (have + past participle) to talk about past events which did not happen, or which may or may not have happened.
Should สามารถนำมาใช้กับ perfect infinitive (have + past participle) พูดเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตซึ่งไม่เกิดขึ้น,หรือซึ่งอาจจะหรืออาจจะไม่เกิดขึ้น.
I should have posted the letter this morning, but I clean forgot. (Here we are talking about a past event which did not happen.)
She should have arrived now. (Here we are talking about the possibility of an event actually taking place.)
You should have written. I was getting worried. (The person didn’t write.)
"I should have gone with you."
"I should have studied more for my test."
"I should have read the directions before starting."
"I should have eaten breakfast this morning."
"I should have listened to your advice."
"I should have married her when I had the chance."
Should not + have + Past Participle
Ought not to + have + Past Participle
มีความหมายว่า ไม่ควรจะกระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดในอดีต แต่ได้กระทำไปแล้ว เช่น
- The party was boring. I shouldn’t have gone there.
- They oughtn’t to have been absent from school yesterday.
วันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
Past Perfect Tense
1 ประโยค Past Perfect Tense เชิงบอกเล่า
โครงสร้าง : Subject + had + verb 3
( ประธาน + had + กริยาช่อง 3 )
ตัวอย่าง : 1. He had gone. ( เขาได้ไปแล้ว )
โครงสร้าง : Subject + had + verb 3
( ประธาน + had + กริยาช่อง 3 )
ตัวอย่าง : 1. He had gone. ( เขาได้ไปแล้ว )
เมื่อต้องการแต่งประโยค Past Perfect Tense ให้มีความหมายเชิงปฏิเสธให้เติม not หลัง Verb to have ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
โครงสร้าง : Subject + had + not + Verb 3
( ประธาน + had + not + กริยาช่อง 3 )
ตัวอย่าง : 1. He had not (hadn’t ) gone. ( เขายังไม่ได้ไป )
2. She had not studied Thai. ( หล่อนยังไม่ได้เรียนภาษาไทย )
3 ประโยค Past Perfect Tense เชิงคำถามและการตอบ
เมื่อต้องการแต่งประโยค Past Perfect Tense ให้มีความหมายเชิงคำถามให้นำ Verb to have มาวางไว้หน้าประโยคและตอบด้วย Yes หรือ No ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
โครงสร้าง : Had + Subject + Verb 3 ?
(Had + ประธาน + กริยาช่อง 3 ? )
ตัวอย่าง : 1. Had he gone ? ( เขาได้ไปแล้วใช่หรือไม่ )
-Yes, he had. ( ใช่เขาได้ไปแล้ว )
-No, he hadn’t. ( ไม่เขายังไม่ได้ไป )
2. Had she studied Thai ? ( หล่อนได้เรียนภาษาไทยแล้วใช่หรือไม่ )
- Yes, she had. ( ใช่หล่อนได้เรียนแล้ว )
- No, she hadn’t. ( ไม่ หล่อนยังไม่ได้เรียน )
โครงสร้าง : Subject + had + not + Verb 3
( ประธาน + had + not + กริยาช่อง 3 )
ตัวอย่าง : 1. He had not (hadn’t ) gone. ( เขายังไม่ได้ไป )
2. She had not studied Thai. ( หล่อนยังไม่ได้เรียนภาษาไทย )
3 ประโยค Past Perfect Tense เชิงคำถามและการตอบ
เมื่อต้องการแต่งประโยค Past Perfect Tense ให้มีความหมายเชิงคำถามให้นำ Verb to have มาวางไว้หน้าประโยคและตอบด้วย Yes หรือ No ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
โครงสร้าง : Had + Subject + Verb 3 ?
(Had + ประธาน + กริยาช่อง 3 ? )
ตัวอย่าง : 1. Had he gone ? ( เขาได้ไปแล้วใช่หรือไม่ )
-Yes, he had. ( ใช่เขาได้ไปแล้ว )
-No, he hadn’t. ( ไม่เขายังไม่ได้ไป )
2. Had she studied Thai ? ( หล่อนได้เรียนภาษาไทยแล้วใช่หรือไม่ )
- Yes, she had. ( ใช่หล่อนได้เรียนแล้ว )
- No, she hadn’t. ( ไม่ หล่อนยังไม่ได้เรียน )
วันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
If Clause หรือ Conditional Sentence
If Clause หรือ Conditional Sentence แบ่งได้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1. Zero Condition : เรียกว่า Pesent Real ใช้นำเสนอ ความจริงหรือเป็นเหตุเป็นผลหรือธรรมชาติ
If + Subject + v1 , Subject + v1
Example: If I travel abroad, I take my passport.
2. First Condition : เรียกว่า Future Possibility ใช้นำเสนอ ความจริงหรือเหตุการณ์ที่มีแนวโน้มว่าจะเกิด(ในอนาคต)
If + Subject + v1 , Subject + will + v1
Example: If it rains later, we'll get wet.
3. Second Condition : เรียกว่า Present Unreal ใช้นำเสนอ สิ่งที่ไม่เป็นจริงหรือมีโอกาสน้อยที่จะเกิดขึ้น(ในอนาคต)
If + Subject + v2 , Subject + would + v1
Example: If I were you, I would take the bus to university.
4. Third Condition : เรียกว่า Past Real ใช้นำเสนอ สิ่งที่ไม่เป็นจริงหรือมีโอกาสน้อยที่จะเกิดขึ้น(ในอดีต)
If + Subject + had + v3 , Subject + would + have + v3
Example: If I had known David, I wouldn't have married him.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)